ทำไมเราต้อง#Saveบางกลอย ชุมชนกะเหรี่ยงบางกลอยจากการแก้ไขการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศที่ผิดพลาดของไทย!
🌱 กว่าศตวรรษที่ชาวบ้านชุมชนกะเหรี่ยงบางกลอยอยู่อย่างสงบสุขบนผืนดินบรรพบุรุษเคียงคู่กับผืนป่าแก่งกระจาน
🚨 เป็นเวลากว่า 2 ทศวรรษแล้วที่ชุมชนพื้นเมืองกะเหรี่ยงถูกกดขี่และคุกคามอย่างต่อเนื่อง ถูกบังคับขับไล่ หรือการที่รัฐพยายามคุมขังเนื่องจากต่อสู้กับการปฏิบัติที่ไม่ชอบด้วยกฎหมายของรัฐไทย เนื่องจากความพยายามกลับไปยังบ้านที่แท้จริงของพวกเขา
ทำไมพวกเขาถึงถูกไล่ออกจากบ้านของพวกเขาเอง?
🇹🇭 พื้นที่ป่าแก่งกระจานได้รับการประกาศเป็นป่าสงวนในปี พ.ศ. 2508 ซึ่งนำไปสู่การผนวกเข้าเป็นอุทยานแห่งชาติแก่งกระจานในปี พ.ศ. 2524 ในปี พ.ศ. 2539 รัฐบาลไทยใช้พื้นที่ดังกล่าวเป็นเครื่องมือในการกดดันชนพื้นเมือง โดยกล่าวหาว่า บุกรุกพื้นที่ป่าจนต้องย้ายถิ่นฐาน ในปี พ.ศ. 2564 ผืนป่าแก่งกระจานได้รับการขึ้นทะเบียนเป็นมรดกโลกจากองค์การยูเนสโก ท่ามกลางข้อถกเถียงมากมาย ส่งผลให้การประกอบอาชีพของคนกะเหรี่ยงเป็นสิ่งที่ผิดกฎหมาย
🗓️ ในปี 2562 ได้มีการออกกฎหมายพระราชบัญญัติอุทยานแห่งชาติ พ.ศ. 2562 ขึ้น ทำให้กลุ่มชนพื้นเมืองและชุมชนชายขอบที่อาศัยอยู่ในพื้นที่ป่าอนุรักษ์เพิ่มมากขึ้น รัฐบาลไทยได้ใช้กฎหมายนี้เป็นวิธีการแก้ไขปัญหาสภาพภูมิอากาศเพื่อดำเนินการขับไล่ประชากรในท้องถิ่นโดยไม่ต้องรับโทษซึ่งเป็นวิธีการแก้ไขที่ผิดพลาดของรัฐไทย
ภายใต้หน้ากากของการอนุรักษ์ป่าไม้และธรรมชาติ รัฐบาลไทยลงโทษชนเผ่าพื้นเมืองที่อาศัยอยู่ในที่ดินของตนเองอย่างไม่เป็นธรรม โดยกล่าวหาว่าพวกเขาบุกรุก ในขณะที่วิถีชีวิตดั้งเดิมของพวกเขาช่วยอนุรักษ์ธรรมชาติอย่างแท้จริง! นี่เป็นตัวอย่างการใช้กฎหมายเป็นอาวุธในการแก้ไขปัญหาสภาพภูมิอากาศที่ผิดพลาด เพื่อขับไล่และลงโทษแก่ผู้ที่รัฐไม่ต้องการ โดยรัฐยังคงมีเจตนาละเมิดสิทธิมนุษยชนนี้!
ชุมชนพื้นเมืองกะเหรี่ยงต้องเผชิญกับความอยุติธรรมอะไรบ้าง?
❗️ตั้งแต่เดือนกุมภาพันธ์ 2564 ชาวบ้านราว 100 คนถูกไล่ออกจากบ้านของพวกเขา และต่อมาในเดือนมีนาคม พ.ศ. 2564 ชนเผ่าพื้นเมืองกะเหรี่ยง 22 คนถูกจับกุมและคุมขังโดยเจ้าหน้าที่อุทยานแห่งชาติของไทย โดยมีทั้งผู้หญิง เด็ก และบุคคลที่มีความบกพร่องทางร่างกายอย่างน้อยหนึ่งคน
รัฐบาลไทยได้แทรกแซงกระบวนการยุติธรรม ซึ่งเป็นการละเมิดสิทธิมนุษยชนขั้นพื้นฐานของชาวกะเหรี่ยง!
❌ ชาวบ้านถูกบังคับให้ลงนามในเอกสารทางกฎหมายในภาษาที่พวกเขาอ่านไม่ออก และถูกปฏิเสธที่ปรึกษาทางกฎหมายในช่วงสองสามชั่วโมงแรกของกระบวนการ ซึ่งเป็นกระบวนการเดียวกันกับที่นำไปสู่การตั้งข้อหาบุกรุกพื้นที่ป่า พวกเขามีฐานะยากจนและไร้ที่อยู่อาศัย พวกเขาไม่มีที่ให้กลับไป ทั้งยังมีการขู่เข็ญว่าจะปรับเงิน 50,000 บาทและถูกส่งเข้าคุก หากพวกเขาพยายามกลับบ้านอีก
การความคืบหน้าล่าสุดเป็นอย่างไรบ้าง?
คำสั่งล่าสุดของนายกรัฐมนตรีไทยกำหนดให้ชาวบ้านกะเหรี่ยงสามารถกลับที่ดินในป่าบางกลอยได้
เมื่อวันที่ 30 เมษายน 2566 อดีตนายกรัฐมนตรีได้ออกคำสั่งให้ชาวบ้านชาวกะเหรี่ยงสามารถกลับเข้าไปในที่ดินของพวกเขาได้ภายในอุทยานแห่งชาติ ซึ่งเป็นส่วนหนึ่งของการรณรงค์หาเสียงในการเลือกตั้งทั่วไปในวันที่ 14 พฤษภาคม
แต่การตัดสินใจครั้งนี้เกิดขึ้นเพื่อสนับสนุนการหาเสียงเลือกตั้งของประยุทธ์เท่านั้น หรือคำสั่งนี้เป็นก้าวแรกที่สำคัญอย่างยิ่งต่อการตระหนักถึงนโยบายการอนุรักษ์ป่าไม้ของรัฐบาลไทยที่ผิดพลาดไป หรืออาจจะเป็นความตั้งใจจริงที่จะให้สิทธิ์ในที่ดินแก่ชนพื้นเมือง
แม้ว่าสิ่งนี้จะแสดงถึงขั้นตอนแรกที่สำคัญเพื่อให้รัฐบาลยอมรับว่านโยบายการอนุรักษ์ป่าไม้นี้ผิดพลาด พวกเราก็กำลังรอการดำเนินการขั้นตอนต่อไปของรัฐบาลในการให้สิทธิ์ในที่ดินแก่ชนพื้นเมือง และในการดำเนินการแก้ไขปัญหาสภาพภูมิอากาศที่แท้จริง!
ข้อเรียกร้องของเรา
มูลนิธิมานุษยะขอเรียกร้องประชาคมโลกติดตามการกระทำของรัฐบาลไทย!
✍️ มานุษยะร่วมออกแถลงการณ์ เมื่อเดือนมีนาคม 2564 เรียกร้องให้รัฐบาลไทยยกเลิกข้อกล่าวหาทั้งหมดต่อชนพื้นเมืองบางกลอย และจัดตั้งคณะกรรมการอิสระเพื่อแก้ไขปัญหาข้อพิพาทที่ดินในภูมิภาค ซึ่งสอดคล้องกับมติคณะรัฐมนตรี 3 เดือนสิงหาคม พ.ศ. 2553 ซึ่งระบุอย่างชัดเจนว่ารัฐไทยตกลงที่จะฟื้นฟูวิถีชีวิตชาวกะเหรี่ยงและห้ามเจ้าหน้าที่อุทยานขับไล่พวกเขา
✊เราจะไม่หยุดต่อสู้เพื่อชนพื้นเมืองบางกลอย จนกว่ารัฐบาลไทยจะมีคำสั่งชดเชยให้กับชุมชนชาวกะเหรี่ยงที่ได้รับความเดือดร้อน และยุติการละเมิดและการเลือกปฏิบัติต่อชนพื้นเมืองทั้งหมด เราเชื่อว่าที่สิ่งที่มานุษยะทำนี้สามารถบรรลุผลสำเร็จได้โดยการมีส่วนร่วมในการหารือที่มีความหมาย โดยเคารพความยินยอมโดยเสรี และการบอกแจ้งล่วงหน้าแก่ชุมชน (FPIC) ของชนพื้นเมือง และการจัดตั้งคณะกรรมการอิสระหลายฝ่ายขึ้นมาดูแล
✊มานุษยะขอเรียกร้องให้รัฐไทยยุติการการแก้ไขปัญหาสภาพภูมิอากาศที่ผิดพลาด และหยุดการใช้นโยบายอนุรักษ์ธรรมชาติเป็นอาวุธเพื่อสร้างอาชญากรรมต่อชุมชนชายขอบอย่างผิดกฎหมาย และขับไล่ชนพื้นเมืองออกจากดินแดนบรรพบุรุษของพวกเขา!
🌱ประเทศไทยต้องเปลี่ยนไปสู่การเปลี่ยนผ่านของสตรีนิยม ยุติธรรม ส่งเสริมพื้นที่สีเขีวว และครอบคลุมด้านพลังงาน โดยมีชุมชนท้องถิ่นและชนพื้นเมืองเป็นศูนย์กลางของกระบวนการตัดสินใจ! พวกเขาเป็นผู้ที่มีความรู้อันมีค่าเกี่ยวกับธรรมชาติและรู้ว่าแนวทางแก้ไขและนโยบายใดที่จะต้องดำเนินการเพื่อลดวิกฤตสภาพภูมิอากาศอย่างมีประสิทธิภาพ! เราเรียกร้องให้รัฐบาลไทยยกย่องพวกเขาในฐานะผู้พิทักษ์ป่า และรับฟังเสียงและข้อเรียกร้องของพวกเขา!
📢 มานุษยะจะทำให้แน่ใจว่าเสียงของชาวบ้านจะได้รับฟัง และพวกเขาจะได้รับการยอมรับตามสิทธิในสิทธิในที่ดินของบรรพบุรุษ!
อ้างอิง:
Bangkok Post, Karen villagers can return to the forest, rules committee, 1 May 2023
Bangkok Post, Protest over order to settle Karen in forest, 5 May 2023
ก่อนกดออก..
➡️ อ่านเพิ่มเติมเกี่ยวกับการรณรงค์ของเราและแถลงการณ์เกี่ยวกับ #Saveบางกลอย:
Thailand's climate action is tainted with blood!, 21 April 2022
#FightRacism 🚨 Why is the Thai government lying to us about Indigenous peoples?, 18 February 2022
#SaveBangkloi 🕰 Why has the problem of the Bangkloi indigenous community not been solved yet?: A year later, delayed justice is not justice!, 31 January 2022
⚠️UNESCO's involvement in forced evictions: Help us #SaveBangkloi!, 27 September 2021
Why we need to #SaveBangkloi: The violations in Bang Kloi and Thailand’s forest conservation laws, 11 March 2021
JOINT STATEMENT: Thai authorities must release 22 Bang Kloi Karen and drop all forest encroachment charges, 6 March 2021
➡️ เรียนรู้เพิ่มเติมเกี่ยวกับการสนับสนุนและความสำเร็จของมูลนิธิมานุษยะ เพื่อความยุติธรรมด้านสภาพอากาศและการเปลี่ยนแปลงด้านพลังงานที่เป็นธรรม :
Just Energy Transition and the Suppression of Leading Climate Activists in Vietnam!, 7 July 2023
Thai authorities must officially recognize the existence of Indigenous Peoples in the country!, 19 May 2023
Solution to Pollution is in mother nature, 22 April 2023
How do false climate solutions violate human rights in Thailand?, 17 April 2023
8 Facts about #ClimateJustice You Need to Know, 10 February 2023
2023 Must Be the Year for Real #ClimateAction #JustTransition, #ClimateJustice, 4 January 2023
All you need to know about the main demands of our People’s Declaration!, 1 December 2022
All You Need to Know about our #WeAreJustTransition Movement, 28 November 2022
News Release: #WeAreJustTransition Movement: It’s time for a Just, Feminist, Green & Inclusive Transition with people-driven energy solutions to end greenwashing and phase out fossil fuels!, 24 November 2022
People’s Declaration for a Just, Feminist, Green and Inclusive Transition on Energy, Environment, Natural Resources, and Forests, 18 November 2022
Watch our Nov. 18 Press Conference to see the #WeAreJustTransition Movement launching our People's Declaration!, 18 November 2022
BLOG: Communities let down by Thailand’s NAP-BHR fight back: It’s time to #StopNAPping!, 2 November 2022
News Release: Responsible governments and implicated companies must ensure safety and effective access to information of communities living near the Nam Theun 1 dam in Laos, 26 August 2022
#SaveSabWaiVillagers: Digital campaign supporting Manushya Foundation’s efforts on Sab Wai case.
News Release: Thailand: Stop Forced Evictions of 14 Sab Wai Villagers facing Extreme Poverty & Homelessness!, 5 August 2022
Complaint for Urgent Action for Protection of the 14 Sab Wai Villagers, facing human rights violations due to Thailand’s False Climate Solutions, 4 August 2022
News Release: Lao Government and Implicated Companies Must Deliver Justice For Survivors of 2018 Attapeu Dam Collapse, 26 July 2022
Follow-Up UN Complaint to seek Justice for the Survivors of the Xe-Pian Xe-Namnoy Dam collapse in Attapeu Province, Laos, 28 February 2022
#FightRacism - Thailand is a Paradise; But only for the 1%: Joint Shadow Civil Society Report on the Implementation of ICERD: Replies to the List of Themes CERD/C/THA/Q/4-8 105th CERD session (15 November - 3 December), 25 October 2021
Manushya Foundation’s Factsheet to inform Thailand’s Third UPR: Thailand's False Climate Solutions with Bad Forest Conservation Laws, 13 September 2021
Joint Submission to the UN Universal Periodic Review (UPR): Land-related rights, forest conservation laws and climate change policies, 25 March 2021
News Release: Thailand: End the unfair criminalization of land rights defenders in Sai Thong National Park, 19 June 2019
Submission of Urgent Action to 7 UN Special Rapporteurs: #SaveSabWaiVillagers from going to jail! The unfair criminalization of 14 villagers under Thailand’s Forest Reclamation Policy, 23 June 2019
Joint Statement: Human Rights Organisations urge Thai government to drop all charges against women land and human rights defenders in Ban Sap Wai community, 24 June 2019
News Release: Thailand: Ensure the provision of fair justice & effective remedy to land rights defenders unfairly criminalized in the Sai Thong National Park Case, 8 July 2019
Racial Discrimination in Thailand: Joint Civil Society Report: List of Themes to be considered by the Committee on the Elimination of Racial Discrimination (CERD) for the review of the combined fourth to eighth periodic reports of Thailand (CERD/C/THA/4-8), 2020
#SaveBangkloi #PeopleOverProfit #PlanetOverProfit #ClimateJustice #JustTransition #WeAreJustTransition #CorporateAccountability #WhatsHappeningInThailand #LandRightsNow #WHRDs #HumanRights #OurPlanetOurHealth #StopCorporateCapture #LetTheEarthBreathe #climateactionnow #ClimateChange #HumanRightsDefenders
댓글