top of page
  • Writer's pictureManushya Foundation

#CEDAW: เสริมพลังผู้หญิงท้องถิ่นเพื่อให้ขยับขึ้นเป็นศูนย์กลางของประเด็นสิทธิมนุษยชนในประเทศไทย



 


 


 


 


 



 

เราสะท้อนเสียงของผู้หญิงท้องถิ่นในรายงาน CEDAW ฉ​บับความร่วมมือภาคประชาสังคม


เมื่อวันที่ 7 ต.ค. 2565 เราได้ส่งรายงาน CEDAW ฉบับความร่วมมือภาคประชาสังคมเพื่อแจ้งประเด็นปัญหาที่ควรได้รับการพิจารณาโดยคณะกรรมการ CEDAW ซึ่งรายงานฉบับนี้เป็นความสำเร็จจากการประชุมเชิงปฏิบัติการ และการทำงานร่วมกันของกลุ่มสิทธิมนุษยชนผู้หญิง สมาชิกกลุ่มพันธมิตรภาคประชาสังคมเพื่อกระบวนการทบทวนสถานการณ์สิทธิมนุษยชนประเทศไทย (Thai CSOs Coalition for the UPR) และเครือข่ายธุรกิจและสิทธิมนุษยชนประเทศไทย (Thai Business and Human Rights Network) อีกทั้งรายงานนี้ยังเขียนจากข้อมูลในรายงาน UPR Everything you need to know about #WhatsHappeningInThailand สำหรับกระบวนการทบทวนสถานการณ์สิทธิมนุษยชนภายใต้คณะมนตรีสิทธิมนุษยชนแห่งสหประชาชาติรอบที่ 3 และรายงานร่วมของภาคประชาสังคมต่อคณะกรรมการ CERD (อนุสัญญาระหว่างประเทศว่าด้วยการขจัดการเลือกปฏิบัติทางเชื้อชาติในทุกรูปแบบ) ‘Thailand is a Paradise but only for the 1%’



 


 












 


 


อ่านเพิ่มเติม: รายงานข้อเท็จจริงในประเด็นปัญหา ‘รวมทุกอย่างที่คุณควรรู้เกี่ยวกับสถานการณ์ด้านสิทธิมนุษยชนในประเทศไทย #WhatsHappeningInThailand’ ภายใต้กลไกทบทวนสถานการณ์สิทธิมนุษยชน (UPR) รอบที่ 3 ของไทย และอ่านเพิ่มเติมในประเด็นปัญหาสิทธิสตรีเฉพาะด้าน คนอีสาน, ผู้หญิงที่เป็นเหยื่อความรุนแรงในคู่รัก, สตรีชนเผ่าพื้นเมือง, สิทธิพนักงานบริการ, การค้ามนุษย์, การทำแท้งปลอดภัย, ความไม่สงบในชายแดนภาคใต้, สิทธิมนุษยและสิ่งแวดล้อมต้องมาก่อนผลกำไร, สิทธิของผู้มีความหลากหลายทางเพศ, สิทธิของผู้ติดเชื้อเอชไอวี, สิทธิผู้พิการ, สิทธิผู้สูงอายุ, นโยบายแก้ปัญหาสภาพอากาศที่ผิดพลาดของรัฐไทย



อ่านเพิ่มเติม: รายงานร่วมเสนอของภาคประชาสังคมสำหรับการทบทวนสถานการณ์สิทธิมนุษยชน (UPR) ของไทยภายใต้กลไกทบทวนสถานการณ์สิทธิมนุษยชนในประเด็นปัญหา สิทธิสตรีชนเผ่าพื้นเมือง, สิทธิของผู้มีความหลากหลายทางเพศ, สิทธิในที่ดิน, สิทธิผู้สูงอายุ, ความไม่สงบในชายแดนภาคใต้ และ การทำแท้งปลอดภัย






 


Comments


bottom of page