top of page
  • Writer's pictureManushya Foundation

#WeAreJustTransition 🌱การทำเหมืองมีความเกี่ยวข้องกับกระบวนการเปลี่ยนผ่านอย่างยุติธรรมอย่างไร ?

#WeAreJustTransition 🌱คุณรู้หรือไม่ว่าการทำเหมืองมีความเกี่ยวข้องกับกระบวนการเปลี่ยนผ่านอย่างยุติธรรมอย่างไร? ค้นหาคำตอบได้ใน #รายงานฉบับใหม่ ของเรา!




































🛑 การทำเหมืองได้ทำลายชีวิตของชุมชนหลายแห่งทั่วโลก ทั้งชีวิตประจำวัน อาชีพ และสิ่งแวดล้อม คุณอาจจะยังจดจำชุมชนในจังหวัดพิจิตร ประเทศไทยที่พวกเขาได้ต่อสู้เพื่อความยุติธรรม และเผชิญกับการทำเหมืองทองที่เป็นอันตรายมานานเกือบ 20 ปี! #JusticeForPhichit


การทำเหมืองยังไม่ใกล้ถึงจุดสิ้นสุด ตรงข้ามกันสำหรับการเปลี่ยนแปลงเพื่อสู่เศรษฐกิจสีเขียวที่มีการปลดปล่อยคาร์บอนต่ำ เรายังต้องพึ่งพาการทำเหมืองแร่เช่น ลิเธียม โคบอล หรือนิกเกิล ทั้งหมดนี้จึงเชื่อมโยงกับการละเมิดสิทธิมนุษยชนและการทำลายสิ่งแวดล้อม ด้วยความพยายามที่จะเอาเปรียบ ประเทศไทยจึงกำลังวางแผนการ…


📣 “รัฐบาลไทยพยายามโน้มน้าวประชาคมระหว่างประเทศว่าเป็นแชมป์ด้านสภาพอากาศ ด้วยการมีนโยบายในการปลูกป่า การผลิตรถยนต์ไฟฟ้า หรือแผนการใช้พลังงานทดแทน” เอมิลี่ ประดิจิตร ผู้ก่อตั้งและผู้อำนวยการของมูลนิธิมานุษยะ เธอได้กล่าวว่า “หากเจาะลึกลงไปแล้วคุณจะพบว่านโยบายส่วนใหญ่เหล่านี้มีการละเมิดสิทธิมนุษยชนและไม่มีประสิทธิภาพในการรับมือกับการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศเลย ในขณะเดียวกัน เชื้อเพลิงฟอสซิลใกล้จะหมดลง การเปลี่ยนแปลงด้านพลังงานจะต้องเป็นไปอย่างยุติธรรม ซึ่งรายงานฉบับล่าสุดของเราที่ส่งไปยังสหประชาชาติเกี่ยวกับธุรกิจกับสิทธิมนุษยชนแสดงให้เห็นว่ารัฐบาลควรทำอย่างไร”


🔗 เรียนรู้เพิ่มเติมเกี่ยวกับความเชื่อมโยงระหว่างการทำเหมืองแร่ กระบวนการเปลี่ยนแปลงที่ยุติธรรม และสิทธิมนุษยชนในรายงานของเรา และดูว่าเราสามารถทำอย่างไรให้การเปลี่ยนผ่านสู่เศรษฐกิจสีเขียวและคาร์บอนต่ำนั้นมีส่วนร่วมของเฟมินิสม์อย่างแท้จริง!


#WeAreManushyan ♾️ Equal Human Beings




bottom of page